กฎเกณฑ์
กรณีศึกษาการขายกองทุน
กรณีศึกษา (การทำหน้าที่ของ IC)
ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้
ผู้แนะนำการลงทุน
DO / DON'T
Fund Factsheet
Suitability Test
(ท่านสามารถชมคลิปความรู้อื่น ๆ จาก Thai SEC ได้ โดยคลิกที่นี่)
Fair dealing และบทบาทของคนขายที่จะทำให้เกิด Fair dealing
เพื่อให้เกิด Fair dealing ในการติดต่อ ให้บริการและการขายผลิตภัณฑ์ โดยมีความเป็นธรรมและคำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็นสำคัญ
รู้จัก IC & IP และขอบเขตหน้าที่
เพื่อให้ผู้แนะนำการลงทุน (IC) และผู้วางแผนการลงุทน (IP) ปฏิบัติหน้าที่ได้สอดคล้องกับประเภทการให้ความเห็นชอบ
การขอความเห็นชอบและการปฏิบัติหน้าที่
เพื่อให้บุคลากรปฏิบัติหน้าที่ได้สอดคล้องกับประเภทความเห็นชอบที่ได้รับและขอบเขตการทำธุรกิจของต้นสังกัด
ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ในตลาดทุนต้องเป็นผู้ที่ไม่มีลักษณะต้องห้าม
เพื่อให้บุคลากรในธุรกิจตลาดทุนมีความน่าเชื่อถือ และพึงระมัดระวังตัวไม่ให้ตกอยู่ในฐานะกลายเป็นผู้ที่มีลักษณะต้องห้าม
การต่ออายุให้ความเห็นชอบ
ผู้ที่ประสงค์จะปฏิบัติหน้าที่ต้องต่ออายุการให้ความเห็นชอบตามเงื่อนไขและเวลาที่กำหนด
ทำความรู้จักผู้ลงทุน จัดประเภทผู้ลงทุนและประเมินความเหมาะสมในการลงทุน
เพื่อให้เกิดการให้คำแนะนำการลงทุนได้อย่างเหมาะสม และป้องกันไม่ให้เกิดการเข้าไปมีส่วนร่วมในการกระทำผิดกฎหมายหรือการเกิดข้อขัดแย้งในภายหลัง
การให้บริการแก่ผู้ลงทุนกลุ่มเปราะบาง (Vulnerable)
เพื่อที่จะเข้าใจลักษณะของผู้ลงทุนกลุ่มเปราะบาง และการให้บริการที่ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ
การให้คำแนะนำการลงทุนที่เหมาะสมกับผู้ลงทุน
เพื่อให้คำแนะนำผลิตภัณฑ์การลงทุนที่เหมาะสมกับผู้ลงทุน โดยพิจารณาจาก Suitability test และ Basic asset allocation
วิธีปฏิบัติกรณีผู้ลงทุนต้องการลงทุนเกินความเสี่ยงที่ยอมรับได้
ให้ผู้ลงทุนตระหนักถึงความเสี่ยงจากการลงทุนที่ไม่เป็นไปตามผล Suitability test และ Basic asset allocation
การให้บริการผลิตภัณฑ์การลงทุนที่มีความเสี่ยงสูงหรือมีความซับซ้อน
การบริการผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงสูงหรือมีความซับซ้อน จะถูกทำโดย IC Complex ประเภท 1, 2 หรือ 3 เท่านั้น โดยจะมีขั้นตอนการขายที่มากกว่าผลิตภัณฑ์การลงทุนทั่วไป
รู้จักผู้ลงทุนรายใหญ่ ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และการผ่อนผัน Sale process ในบางกรณี
ผลิตภัณฑ์บางประเภทสามารถขายได้กับผู้ลงทุนเฉพาะกลุ่มเท่านั้น
การแจ้ง Material event
เมื่อมีเหตุการณ์สำคัญที่มีผลกระทบกับผลิตภัณฑ์การลงทุน ผู้ลงทุนจะต้องได้รับข้อมูลดังกล่าวประกอบการตัดสินใจลงทุน
กรณีศึกษา - ลงนามเป็นผู้ให้คำแนะนำโดยไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่
กรณีศึกษา IC เซ็นเอกสารคำสั่งซื้อขายโดยไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่แนะนำการลงทุน
กรณีศึกษา - การให้คำแนะนำที่ไม่เหมาะสมกับผู้ลงทุน
กรณีศึกษา IC อธิบายข้อมูลผลิตภัณฑ์ไม่ละเอียดเพื่อให้ผู้ลงทุนได้เข้าใจอย่างถูกต้อง ก่อนการตัดสินใจลงทุน และต้องระมัดระวังในการขายให้ผู้ลงทุนกลุ่มเปราะบาง
กรณีศึกษา - การให้ข้อมูลสำคัญไม่ครบถ้วนทำให้ผู้ลงทุนเข้าใจผิด
กรณีศึกษา IC ให้ข้อมูลสำคัญของผลิตภัณฑ์ไม่ครบถ้วน ส่งผลเสียหายต่อผู้ลงทุน
กรณีศึกษา - ทุจริตต่อทรัพย์สินของผู้ลงทุน ไม่ซื้อกองทุนให้ผู้ลงทุน
กรณีศึกษา IC ที่ทุจริตจะถูกลงโทษโดยการเพิกถอนใบอนุญาตและถูกเปิดเผยพฤติกรรมต่อสาธารณชน
ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - กองทุนรวมตราสารหนี้
ความเสี่ยงสำคัญของกองทุนตราสารหนี้คือ credit risk และกองทุนรวมตราสารหนี้มีความเสี่ยงตั้งแต่ 4 จนถึง 6
การกระทำมิชอบต่อทรัพย์สินผู้ลงทุน
กรณีศึกษา IC ชักชวนให้ผู้ลงทุนจองหุ้นใหม่ที่กำลังจะเข้าตลาดหลักทรัพย์ (Pre-IPO) แต่สุดท้ายกลับไม่ได้หุ้น แถมผู้ลงทุนก็ไม่ได้เงินคืน
การกระทำมิชอบต่อทรัพย์สินผู้ลงทุนตัวอย่างที่ 2
กรณีศึกษา IC กระทำมิชอบต่อทรัพย์สินผู้ลงทุนและใช้บัญชีซื้อขายของผู้ลงทุนเพื่อตนเอง
กรณีศึกษา - ไม่ซื่อสัตย์สุจริต
กรณีศึกษา IC ไม่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และไม่เป็นมืออาชีพ
กรณีศึกษา - ใช้หน้าที่แสวงหาประโยชน์
กรณีศึกษา IC ใช้หน้าที่แสวงหาผลประโยชน์ โดยชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อหุ้นใหม่ที่กำลังจะเข้าตลาดหลักทรัพย์ (Pre-IPO) เพื่อให้ได้รับส่วนแบ่งจากการชักชวนและขายหุ้น
กรณีศึกษา IC ใช้หน้าที่แสวงหาผลประโยชน์ โดยชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อหุ้นใหม่ที่กำลังจะเข้าตลาดหลักทรัพย์ (IPO) และรับเงินค่าส่วนแบ่งจากการชักชวน แต่แล้วหุ้น IPO ตัวนั้นไม่ได้เข้าในตลาดหลักทรัพย์
กรณีศึกษา - การทำ KYC ปกปิดผู้รับผลประโยชน์ที่แท้จริง
กรณีศึกษา IC ล่วงรู้ผู้รับประโยชน์ที่แท้จริงในบัญชีซื้อขาย แต่ไม่ยอมเปิดเผยกับบริษัทหลักทรัพย์
กรณีศึกษา - ให้ข้อมูลไม่ตรงต่อความเป็นจริง
กรณีศึกษา IC ให้ข้อมูลไม่ตรงกับความเป็นจริง ทั้งรายการซื้อขายและสถานะทางบัญชีเมื่อเกิดผลขาดทุน
กรณีศึกษา - ให้คำแนะนำไม่ถูกต้องครบถ้วนแก่ผู้ลงทุน
กรณีศึกษา IC ให้ข้อมูลไม่ครบถ้วน เกี่ยวกับความเสี่ยงเฉพาะของหลักทรัพย์
กรณีศึกษา - รับมอบหมาย ตัดสินใจแทน
กรณีศึกษา IC รับมอบหมาย/ ตัดสินใจสั่งซื้อขายหุ้นในบัญชีแทนผู้ลงทุน
กรณีศึกษา - เผยแพร่ข่าว ข้อความที่อาจก่อให้เกิดความสำคัญผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับราคาซื้อขายหุ้น
กรณีศึกษา IC ส่งต่อข้อมูลหรือข่าวลือที่ไม่ได้รับการตรวจสอบและไม่มีที่มาที่ไปที่ชัดเจน และยังไม่มีการยืนยันความถูกต้อง
ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - กองทุนรวมผสม
สัดส่วนการลงทุนในหุ้นและตราสารหนี้ของกองทุนรวมผสมอาจไม่จำเป็นต้องเป็น 50 : 50 เสมอไป
ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - กองทุนรวมต่างประเทศ (FIF)
ข้อพึงระวังที่สำคัญในการขายกองทุนรวมต่างประเทศ ได้แก่ ความเสี่ยงของประเทศที่ไปลงทุน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ค่าธรรมเนียมของกองทุน ความล่าช้าของการประกาศ NAV และการได้เงินค่าขายคืนหน่วยลงทุนเนื่องจาก time zone
ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - กองทุนรวมน้ำมัน
กองทุนรวมน้ำมันเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงสูงหรือมีความซับซ้อน
ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - Trigger Fund
trigger fund เป็นกองทุนรวมที่มีการตั้งเป้าหมายการเลิกกองเมื่อได้ผลตอบแทนถึงระดับหนึ่ง ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ (แต่ไม่การันตีผลตอบแทนและเงินต้น)
ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - Unit Linked1
Unit Linked หรือกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุน เป็นผลิตภัณฑ์ประกันชีวิตประเภทหนึ่งที่มีการลงทุนในกองทุนรวม ซึงมีความซับซ้อนและเงื่อนไขที่ผู้ลงทุนต้องทำความเข้าใจก่อนตัดสินใจลงทุน
ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - Unit Linked2
กลไกการทำงานของ Unit Linked
ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - Perpetual Bond
Perpetual Bond เป็นหุ้นกู้ที่ไม่มีอายุ มีลักษณะด้อยสิทธิ จัดเป็นผลิตภัณฑ์การลงทุนที่มีความเสี่ยงสูงหรือซับซ้อน
ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - REIT
REIT หรือกองทุนที่ลงทุนในทรัพย์สินประเภทอสังหาริมทรัพย์ ผลตอบแทนและความเสี่ยงมาจากทรัพย์สินที่กองถือ
ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - LTF
LTF หรือกองทุนรวมหุ้นระยะยาวเพื่อลดหย่อนภาษี มีเงื่อนไขการลงทุนและระยะเวลาการลงทุนที่ต้องทำความเข้าใจ
ผู้แนะนำการลงทุนที่ดีควรเป็นอย่างงี้
IC ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการให้คำแนะนำการลงทุนแก่ผู้ลงทุน อีกทั้งมีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ มีคุณธรรม และปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานวิชาชีพ
ความรู้เกี่ยวกับ พรบ.หลักทรัพย์ ฉบับที่5
การทำหน้าที่ของ IC ในส่วนของการกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ หรือเรียกว่า Market Misconduct
ตัวอย่างการทำหน้าที่ของผู้แนะนำการลงทุนที่อาจเข้าข่ายความผิด Market Misconduct
ศึกษา พ.ร.บ. หลักทรัพย์ฯและความผิดเกี่ยวกับหน้าที่ (Conduct) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการกระทำผิดต่อหน้าที่ และไม่เข้าไปร่วมหรือสนับสนุนการกระทำผิด
ประเภทของมาตรการลงโทษทางแพ่งและโทษทางปกครองของผู้แนะนำการลงทุน
ผลจากการกระทำผิดในเรื่อง Market Misconduct หรือความผิดเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของ IC
เปิดบัญชีแบบนี้ควรหรือไม่ควร
ข้อปฏิบัติที่ IC พึงกระทำและไม่พึงกระทำ เกี่ยวกับการเปิดบัญชี
การรับคำสั่งซื้อแบบนี้... ไม่ หรือ ใช่?
ข้อปฏิบัติที่ IC ควรทำและไม่ควรทำ ในการรับคำสั่งซื้อขาย
การให้คำแนะนำแบบนี้ควรหรือไม่ควร
พฤติกรรมที่ IC ควรทำและไม่ควรทำ ในการให้คำแนะนำการลงทุนที่ดี
พฤติกรรมที่ควรทำและไม่ควรทำอื่นๆ
ข้อปฏิบัติที่เหมาะสมของ IC เกี่ยวกับกระบวนการหลังการซื้อขาย
รู้จัก Fund Factsheet
fund factsheet : เครื่องมือสำคัญที่ช่วย IC ให้ข้อมูลแก่ผู้ลงทุน
รู้จัก Fund Factsheet - คุณกำลังจะลงทุนอะไร
fund factsheet : นโยบายการลงทุนในทรัพย์สินซึ่งเป็นที่มาของผลตอบแทนและความเสี่ยง
รู้จัก Fund Factsheet - กองทุนรวมนี้เหมาะกับใคร
fund factsheet : ข้อจำกัดและลักษณะเฉพาะของกองทุน
รู้จัก Fund Factsheet - คุณต้องระวังอะไรเป็นพิเศษ
fund factsheet : ปัจจัยความเสี่ยงและคำเตือนที่สำคัญแก่ผู้ลงทุน
รู้จัก Fund Factsheet - ความเสี่ยงของกองทุนรวมที่ต้องรู้
fund factsheet : ความเสี่ยงเฉพาะของแต่ละประเภทของกองทุน
รู้จัก Fund Factsheet - สัดส่วนของประเภททรัพย์สินที่ลงทุน
fund factsheet : สัดส่วนการลงทุนในทรัพย์สินต่าง ๆ
รู้จัก Fund Factsheet - ค่าธรรมเนียม
fund factsheet : ค่าธรรมเนียมของกองทุน
รู้จัก Fund Factsheet - ผลการดำเนินงาน
fund factsheet : ข้อมูลผลตอบแทนย้อนหลัง ความผันผวนของผลตอบแทน และผลขาดทุนสูงสุดที่เกิดขึ้นจริง 5 ปี
Suitability Test - รู้จักความเปราะปางของผู้ลงทุนจากอายุและประสบการณ์การลงทุน
การใช้แบบประเมินความเหมาะสมในการลงทุนหรือ Suitability test ในการทำความรู้จักผู้ลงทุนโดยวิเคราะห์ผู้ลงทุนในหลากหลายมิติ เรื่องที่ 1 : รู้จักความเปราะบางของผู้ลงทุนจากอายุ ความรู้และประสบการณ์การลงทุน
Suitability Test - ความสามารถในการรับความเสี่ยง - ภาระและสถานภาพทางการเงิน
การใช้ suitability test เพื่อให้รู้ความสามารถในการรับความเสี่ยงจากภาระทางการเงินและสถานภาพทางการเงิน
Suitability Test - ความสามารถในการรับความเสี่ยง - ระยะเวลาลงทุน
การใช้ suitability test เพื่อให้รู้ความสามารถในการรับความเสี่ยงจากระยะเวลาการลงทุน
Suitability Test - รู้วัตถุประสงค์การลงทุน
การใช้ suitability test เพื่อให้รู้วัตถุประสงค์การลงทุนของผู้ลงทุนจากผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนคาดหวังและความเสี่ยงที่ยอมรับได้
Suitability Test - รู้อารมณ์ความรู้สึกเมื่อประสบภาวะขาดทุน
การใช้ suitability test เพื่อให้รู้ความรู้สึกของผู้ลงทุนเมื่อต้องประสบกับภาวะขาดทุนเพื่อนำมาประเมินร่วมกับความสามารถในการรับความเสี่ยง
Suitability Test - การรับความเสี่ยงจากอนุพันธ์และอัตราแลกเปลี่ยน
การใช้ suitability test ดูผลเรื่องการรับความเสี่ยงจากอนุพันธ์และอัตราแลกเปลี่ยนของผู้ลงทุน เพื่อใช้ประกอบการให้คำแนะนำการลงทุน
Suitability Test - การใช้ผล Suitability Test
การนำผล suitability test คู่กับเป้าหมายการลงทุนและข้อจำกัดในการลงทุน ในการเริ่มให้คำแนะนำ
ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน
โทรศัพท์ 0 2033 9579