Sign In
กฎเกณฑ์

​​​​​​​​​การควบรว​​มกิจการ


การขอผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อ ​


อผ่อนผันต่อ ก.ล.ต.

บุคคลที่ประสงค์จะได้มาหรือเป็นผู้ถือหุ้นของกิจการใดจนถึงหรือข้าม trigger point สามารถขอผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของกิจการต่อ ก.ล.ต. ก่อนการได้มาซึ่งหลักทรัพย์ดังกล่าว ถ้าเข้าเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่งดังต่อไปนี้

  • กรณีที่ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอำนาจการควบคุม

  • กรณีที่มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือหรือฟื้นฟูกิจการ

  • กรณีที่ได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น (whitewash)

  • กรณีอื่นใดที่คณะอนุกรรมการวินิจฉัยการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ (Takeover Panel) ได้มีแนววินิจฉัยเป็นบรรทัดฐานไว้แล้ว 

  • กรณีมีเหตุจำเป็นและสมควร


ขอผ่อนผันต่อ Takeover Panel

นอกจากการผ่อนผันที่อยู่ในอำนาจการพิจารณาของ ก.ล.ต. ข้างต้นแล้ว ยังมีกรณีที่ต้องยื่นขอผ่อนผันต่อคณะอนุกรรมการวินิจฉัยการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ (Takeover Panel) ได้แก่

  • กรณีได้มาโดย chain principle  แต่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อครอบงำกิจการ เช่น ขนาดของกิจการไม่มีนัยสำคัญต่อนิติบุคคลกลาง

  • กรณีอื่น ที่ ก.ล.ต. เห็นสมควรให้ takeover panel  เป็นผู้พิจารณา

ทั้งนี้ การผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อจะมีอายุ 6  เดือน

 

  • กรณีมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือหรือฟื้นฟูกิจการ
    การขอผ่อนผันต่อ ก.ล.ต. เมื่อมีการได้มาซึ่งหุ้นที่ออกใหม่จนถึงจุดที่ต้องทำคำเสนอซื้อ (25% 50% หรือ 75%) เพื่อช่วยเหลือหรือฟื้นฟูกิจการ ต่อเมื่อ

    • ได้มาตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลายและศาลเห็นชอบแผนแล้ว

    • ได้มาตามแผนแก้ไขเหตุแห่งการ delist และผู้ถือหุ้นเห็นชอบแล้ว

    • กิจการต้องเพิ่มทุนเพราะเหตุจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือด้านเงินทุนหรือปรับโครงสร้างกิจการ เนื่องจากกิจการประสบปัญหาทางการเงินที่กระทบการดำเนินธุรกิจ (going concerns)

      • ที่ประชุมผู้ถือหุ้นรับทราบเหตุที่ต้องเพิ่มทุนและมีมติเพิ่มทุนเพื่อแก้ไขเหตุดังกล่าว

      • กรณีมีหุ้นเพิ่มทุนค้างอยู่ อาจแต่งตั้งที่ปรึกษาทางการเงิน มาตรวจสอบและรับรองว่า กิจการต้องการความช่วยเหลือและแผนช่วยเหลือนั้นมีความเป็นไปได้

  • กรณีขอผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของกิจการโดยใช้มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของกิจการ (whitewash)

         การขอผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของกิจการ โดยใช้มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของกิจการ (ใช้กับกรณี  

         ประสงค์จะข้าม trigger point จากการได้หลักทรัพย์ที่ออกใหม่ (ประกาศที่เกี่ยวข้อง : สจ. 29/2561 ลว. 30 พ.ค.

         2561)


pic20.png
 ​

  • หลักเกณฑ์การขอผ่อนผัน whitewash:
    • ผู้ขอผ่อนผันยื่นคำขอสอบทานข้อมูลในร่างหนังสือขอมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นตามแบบ 247-7 และดำเนินการให้กิจการร่วมยื่นในร่างหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นโดยมีรายละเอียดตามประกาศกำหนด ดังนี้

      • วาระการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ให้เปิดเผยข้อมูลตามประกาศ ที่ ทจ. 73/2552

      • วาระผ่อนผัน whitewash ให้เปิดเผยข้อมูลตามประกาศ ที่ ทจ. 41/2561

    • ให้ยื่นก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 35 วัน (กรณีมีข้อสังเกต ก.ล.ต. จะแจ้งภายใน 15 วัน นับแต่รับคำขอสอบทานข้อมูล)

    • ส่งหนังสือนัดประชุมให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าอย่างน้อย 14 วันก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น โดยมีสาระไม่ต่างจากร่างที่ยื่นตามข้อ 1 รวมทั้งได้ปรับปรุงตามข้อสังเกตของสำนักงานแล้ว (ถ้ามี)

    • ห้ามผู้ขอผ่อนผันและบุคคลที่เกี่ยวข้องได้มาซึ่งหุ้นของกิจการนั้นตั้งแต่วันที่คณะกรรมการมีมติออกหลักทรัพย์ใหม่แก่ผู้ขอผ่อนผันจนถึงวันที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติเห็นชอบการผ่อนผัน เว้นแต่เป็นการได้มาโดยมรดก / RO

    • มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น

      1. กรณีได้หลักทรัพย์ < 50% (ขอข้าม trigger 25%) ต้องได้รับมติ 3 ใน 4 ของจำนวนเสียงทั้งหมดของ ผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ให้ความเห็นชอบการผ่อนผัน

      2. กรณีต้องการถือหุ้น ≥ 50% (ขอข้าม trigger 50% หรือ 75%) ต้องได้รับ มติ 3 ใน 4 และไม่มีผู้ถือหุ้นรวมกัน ตังแต่ 5% คัดค้าน  

​​​​ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นที่ไม่มีสิทธิลงคะแนน ได้แก่ ผู้ขอผ่อนผันและบุคคลที่เกี่ยวข้อง

 

    • ​​​ผู้ขอผ่อนผันสามารถยื่นคำขอผ่อนผันภายหลังได้มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น พร้อมกับให้กิจการยื่นคำขออนุญาตเสนอขาย PP (ถ้ามี) 

    • ภายหลังจากได้รับผ่อนผัน ถ้าผู้ได้รับผ่อนผันและบุคคลที่เกี่ยวข้องมีการได้หุ้นมาในช่วงวันที่ได้รับผ่อนผัน – วันชำระค่าหุ้น แต่ไม่ถึงจำนวนที่แตะ trigger point ให้ลดสัดส่วนที่ได้รับผ่อนผันลงเท่ากับจำนวนหุ้นที่ได้มา แต่ถ้าได้มาจนแตะ trigger point ให้ถือว่าการผ่อนผันสิ้นสุดลง

    • ห้ามผู้ได้รับผ่อนผันและบุคคลที่เกี่ยวข้อง กระทำการอันเป็นผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายหรือแผนการบริหารกิจการอย่างมีนัยสำคัญจากที่เสนอไว้ในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นเป็นระยะเวลา 1 ปี เว้นแต่จะได้รับมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยเสียง 3 ใน 4 เห็นชอบให้กระทำการดังกล่าว

 

 pic21.png


ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
ฝ่ายจดทะเบียนตราสารทุน 1 – 2

โดยแบ่งตามหมวดธุรกิจของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ดังนี้

ท่องเที่ยวและสันทนาการ-วัสดุก่อสร้าง
โทรศัพท์ 0-2033-9619 / 0-2263-6124 / 0-2033-9590​ / 0-2263-6065

การแพทย์ – บรรจุภัณฑ์ - บริหารเฉพาะกิจ
โทรศัพท์ 0-2263-6110 / 0-2263-6234 / 0-2263-6248 / 0-2263-6535

ยานยนต์– แฟชั่น - พาณิชย์
โทรศัพท์ 0-2263-6112 / 0-2263-6303 /0-2263-6334 / 0-2263-6204

ธนาคาร - ธุรกิจการเงิน – ประกันภัยและประกันชีวิต
โทรศัพท์ 0-2263-6556 / 0-2263-6085 / 0-2033-9621

สื่อและสิ่งพิมพ์ – ของใช้ส่วนตัวและเวชภัณฑ์ – สินค้าอุปโภคบริโภค
โทรศัพท์ 0-2263-6093 / 0-2033-9949 / 0-2033-4671 / 0-2263-6277

ทรัพยากร – ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ – บริการเฉพาะกิจ
โทรศัพท์ 0-2033-9610 / 0-2033-9606 / 0-2033-9656 / 0-2263-6550

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
โทรศัพท์ 0-2033-9640 / 0-2033-9528 / 0-2263-6208  / 0-2263-6196

ไฟฟ้า - เหล็กและผลิตภัณฑ์โลหะ
โทรศัพท์ 0-2033-9976 / 0-2033-9923 / 0-2263-6102 / 0-2033-4636

อาหารและเครื่องดื่ม – ธุรกิจการเกษตร
โทรศัพท์ 0-2033-9628 / 0-2263-6066 /0-2033-4657 / 0-2033-9604

ขนส่งและโลจิสติกส์ – วัสดุอุตสาหกรรมและเครื่องจักร  
โทรศัพท์ 0-2033-9605 /0-2033-4622 / 0-2033-9821 / 0-2263-6367 / 0-2033-9568

ของใช้ในครัวเรือนและสำนักงาน – บริการรับเหมาก่อสร้าง
โทรศัพท์ 0-2263-6111 / 0-2263-6512  / 0-2263-6214  / 0-2033-9947

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
โทรศัพท์ 0-2263- 6514 / 0-2263-6232 / 0-2033-9520 / 0-2033-4610

กรณีสอบถามเกี่ยวกับระบบข้อมูลรายชื่อกรรมการและผู้บริหารบริษัทจดทะเบียนและบริษัทที่ออกหลักทรัพย์
โทรศัพท์ 0-2263-6113

กรณีสอบถามเกี่ยวกับแบบ 56-1 One Report
โทรศัพท์  0-2263-6098 หรือ 0-2033-9618

สอบถามการส่ง online รายงานแบบ 59 และแบบ 246-2

โทร. 1207 ต่อ 3 ต่อ 1 หรือ email helpdesk@sec.or.th

การเสนอขายหุ้นของวิสาหกิจเพื่อสังคม (SE)

โทรศัพท์ 0-2263 6254

กรณีไม่ระบุชื่อบริษัท

โทรศัพท์ 0-2263-6120 / 0-2033-9908 / 0-2033-4644 / 0-2263-6120

อีเมล corporat@sec.or.th 

 ​