Sign In
สื่อการเรียนรู้ Online
​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​คลิปการเรียนรู้ : กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวกับการให้คำแนะนำผลิตภัณฑ์การลงทุนและกรณีศึกษา

 (ท่านสามารถชมคลิปความรู้อื่น ๆ จาก Thai SEC ได้ โดยคลิกที่นี่)


กลุ่ม /​ เรื่อง
สาระสำคัญ


กฎเก​​ณฑ์​
 

Fair dealing และบทบาทของคนขายที่จะทำให้เกิด Fair dealing

เพื่อให้เกิด Fair dealing ในการติดต่อ ให้บริการและการขายผลิตภัณฑ์ โดยมีความเป็นธรรมและคำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็นสำคัญ ​​

รู้จัก IC & IP และขอบเขตหน้าที่

เพื่อให้ผู้แนะนำการลงทุน (IC) และผู้วางแผนการลงุทน (IP) ปฏิบัติหน้าที่ได้สอดคล้องกับประเภทการให้ความเห็นชอบ

การขอความเห็นชอบและการปฏิบัติหน้าที่

เพื่อให้บุคลากรปฏิบัติหน้าที่ได้สอดคล้องกับประเภทความเห็นชอบที่ได้รับและขอบเขตการทำธุรกิจของต้นสังกัด

ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ในตลาดทุนต้องเป็นผู้ที่ไม่มีลักษณะต้องห้าม

เพื่อให้บุคลากรในธุรกิจตลาดทุนมีความน่าเชื่อถือ และพึงระมัดระวังตัวไม่ให้ตกอยู่ในฐานะกลายเป็นผู้ที่มีลักษณะต้องห้าม

การต่ออายุให้ความเห็นชอบ

ผู้ที่ประสงค์จะปฏิบัติหน้าที่ต้องต่ออายุการให้ความเห็นชอบตามเงื่อนไขและเวลาที่กำหนด

ทำความรู้จักผู้ลงทุน จัดประเภทผู้ลงทุนและประเมินความเหมาะสมในการลงทุน

เพื่อให้เกิดการให้คำแนะนำการลงทุนได้อย่างเหมาะสม และป้องกันไม่ให้เกิดการเข้าไปมีส่วนร่วมในการกระทำผิดกฎหมายหรือการเกิดข้อขัดแย้งในภายหลัง

การให้บริการแก่ผู้ลงทุนกลุ่มเปราะบาง (Vulnerable)

เพื่อที่จะเข้าใจลักษณะของผู้ลงทุนกลุ่มเปราะบาง และการให้บริการที่ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ

การให้คำแนะนำการลงทุนที่เหมาะสมกับผู้ลงทุน

เพื่อให้คำแนะนำผลิตภัณฑ์การลงทุนที่เหมาะสมกับผู้ลงทุน โดยพิจารณาจาก Suitability test และ Basic asset allocation

วิธีปฏิบัติกรณีผู้ลงทุนต้องการลงทุนเกินความเสี่ยงที่ยอมรับได้

ให้ผู้ลงทุนตระหนักถึงความเสี่ยงจากการลงทุนที่ไม่เป็นไปตามผล Suitability test และ Basic asset allocation

การให้บริการผลิตภัณฑ์การลงทุนที่มีความเสี่ยงสูงหรือมีความซับซ้อน

การบริการผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงสูงหรือมีความซับซ้อน จะถูกทำโดย IC Complex ประเภท 1, 2 หรือ 3 เท่านั้น โดยจะมีขั้นตอนการขายที่มากกว่าผลิตภัณฑ์การลงทุนทั่วไป

รู้จักผู้ลงทุนรายใหญ่ ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และการผ่อนผัน Sale process ในบางกรณี

ผลิตภัณฑ์บางประเภทสามารถขายได้กับผู้ลงทุนเฉพาะกลุ่มเท่านั้น

การแจ้ง Material event

เมื่อมีเหตุการณ์สำคัญที่มีผลกระทบกับผลิตภัณฑ์การลงทุน ผู้ลงทุนจะต้องได้รับข้อมูลดังกล่าวประกอบการตัดสินใจลงทุน


ก​รณีศึกษ​าการขายกองทุน​

กรณีศึกษา - ลงนามเป็นผู้ให้คำแนะนำโดยไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่

กรณีศึกษา IC เซ็นเอกสารคำสั่งซื้อขายโดยไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่แนะนำการลงทุน 

กรณีศึกษา - การให้คำแนะนำที่ไม่เหมาะสมกับผู้ลงทุน

กรณีศึกษา IC อธิบายข้อมูลผลิตภัณฑ์ไม่ละเอียดเพื่อให้ผู้ลงทุนได้เข้าใจอย่างถูกต้อง ก่อนการตัดสินใจลงทุน และต้องระมัดระวังในการขายให้ผู้ลงทุนกลุ่มเปราะบาง

กรณีศึกษา - การให้ข้อมูลสำคัญไม่ครบถ้วนทำให้ผู้ลงทุนเข้าใจผิด

กรณีศึกษา IC ให้ข้อมูลสำคัญของผลิตภัณฑ์ไม่ครบถ้วน ส่งผลเสียหายต่อผู้ลงทุน

กรณีศึกษา - ทุจริตต่อทรัพย์สินของผู้ลงทุน ไม่ซื้อกองทุนให้ผู้ลงทุน

กรณีศึกษา IC ที่ทุจริตจะถูกลงโทษโดยการเพิกถอนใบอนุญาตและถูกเปิดเผยพฤติกรรมต่อสาธารณชน

ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - กองทุนรวมตราสารหนี้

ความเสี่ยงสำคัญของกองทุนตราสารหนี้คือ credit risk และกองทุนรวมตราสารหนี้มีความเสี่ยงตั้งแต่ 4 จนถึง 6 


กรณีศึกษา​ (ก​ารทำหน้าที่ของ IC)

การกระทำมิชอบต่อทรัพย์สินผู้ลงทุน

กรณีศึกษา IC ชักชวนให้ผู้ลงทุนจองหุ้นใหม่ที่กำลังจะเข้าตลาดหลักทรัพย์ (Pre-IPO) แต่สุดท้ายกลับไม่ได้หุ้น แถมผู้ลงทุนก็ไม่ได้เงินคืน

การกระทำมิชอบต่อทรัพย์สินผู้ลงทุนตัวอย่างที่ 2

กรณีศึกษา IC กระทำมิชอบต่อทรัพย์สินผู้ลงทุนและใช้บัญชีซื้อขายของผู้ลงทุนเพื่อตนเอง

กรณีศึกษา - ไม่ซื่อสัตย์สุจริต

กรณีศึกษา IC ไม่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และไม่เป็นมืออาชีพ

กรณีศึกษา - ใช้หน้าที่แสวงหาประโยชน์

กรณีศึกษา IC ใช้หน้าที่แสวงหาผลประโยชน์ โดยชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อหุ้นใหม่ที่กำลังจะเข้าตลาดหลักทรัพย์ (Pre-IPO) เพื่อให้ได้รับส่วนแบ่งจากการชักชวนและขายหุ้น

กรณีศึกษา - ใช้หน้าที่แสวงหาประโยชน์

กรณีศึกษา IC ใช้หน้าที่แสวงหาผลประโยชน์ โดยชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อหุ้นใหม่ที่กำลังจะเข้าตลาดหลักทรัพย์ (IPO) และรับเงินค่าส่วนแบ่งจากการชักชวน แต่แล้วหุ้น IPO ตัวนั้นไม่ได้เข้าในตลาดหลักทรัพย์

กรณีศึกษา - การทำ KYC ปกปิดผู้รับผลประโยชน์ที่แท้จริง

กรณีศึกษา IC ล่วงรู้ผู้รับประโยชน์ที่แท้จริงในบัญชีซื้อขาย แต่ไม่ยอมเปิดเผยกับบริษัทหลักทรัพย์ 

กรณีศึกษา - ให้ข้อมูลไม่ตรงต่อความเป็นจริง

กรณีศึกษา IC ให้ข้อมูลไม่ตรงกับความเป็นจริง ทั้งรายการซื้อขายและสถานะทางบัญชีเมื่อเกิดผลขาดทุน

กรณีศึกษา - ให้คำแนะนำไม่ถูกต้องครบถ้วนแก่ผู้ลงทุน

กรณีศึกษา IC ให้ข้อมูลไม่ครบถ้วน เกี่ยวกับความเสี่ยงเฉพาะของหลักทรัพย์

กรณีศึกษา - รับมอบหมาย ตัดสินใจแทน

กรณีศึกษา IC รับมอบหมาย/ ตัดสินใจสั่งซื้อขายหุ้นในบัญชีแทนผู้ลงทุน

กรณีศึกษา - เผยแพร่ข่าว ข้อความที่อาจก่อให้เกิดความสำคัญผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับราคาซื้อขายหุ้น

กรณีศึกษา IC ส่งต่อข้อมูลหรือข่าวลือที่ไม่ได้รับการตรวจสอบและไม่มีที่มาที่ไปที่ชัดเจน และยังไม่มีการยืนยันความถูกต้อง



ผลิ​ตภัณฑ์​การลงทุนน่ารู้

ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - กองทุนรวมผสม

สัดส่วนการลงทุนในหุ้นและตราสารหนี้ของกองทุนรวมผสมอาจไม่จำเป็นต้องเป็น 50 : 50 เสมอไป

ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - กองทุนรวมต่างประเทศ (FIF)

ข้อพึงระวังที่สำคัญในการขายกองทุนรวมต่างประเทศ ได้แก่ ความเสี่ยงของประเทศที่ไปลงทุน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ค่าธรรมเนียมของกองทุน ความล่าช้าของการประกาศ NAV และการได้เงินค่าขายคืนหน่วยลงทุนเนื่องจาก time zone  

ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - กองทุนรวมน้ำมัน

กองทุนรวมน้ำมันเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงสูงหรือมีความซับซ้อน 

ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - Trigger Fund

trigger fund เป็นกองทุนรวมที่มีการตั้งเป้าหมายการเลิกกองเมื่อได้ผลตอบแทนถึงระดับหนึ่ง ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ (แต่ไม่การันตีผลตอบแทนและเงินต้น)

ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - Unit Linked1

Unit Linked หรือกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุน เป็นผลิตภัณฑ์ประกันชีวิตประเภทหนึ่งที่มีการลงทุนในกองทุนรวม ซึงมีความซับซ้อนและเงื่อนไขที่ผู้ลงทุนต้องทำความเข้าใจก่อนตัดสินใจลงทุน

ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - Unit Linked2

กลไกการทำงานของ Unit Linked 

ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - Perpetual Bond

Perpetual Bond เป็นหุ้นกู้ที่ไม่มีอายุ มีลักษณะด้อยสิทธิ จัดเป็นผลิตภัณฑ์การลงทุนที่มีความเสี่ยงสูงหรือซับซ้อน

ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - REIT

REIT หรือกองทุนที่ลงทุนในทรัพย์สินประเภทอสังหาริมทรัพย์ ผลตอบแทนและความเสี่ยงมาจากทรัพย์สินที่กองถือ

ผลิตภัณฑ์การลงทุนน่ารู้ - LTF

LTF หรือกองทุนรวมหุ้นระยะยาวเพื่อลดหย่อนภาษี มีเงื่อนไขการลงทุนและระยะเวลาการลงทุนที่ต้องทำความเข้าใจ



ผู้แนะนำ​ก​ารลงทุน​
 

ผู้แนะนำการลงทุนที่ดีควรเป็นอย่างงี้

IC ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการให้คำแนะนำการลงทุนแก่ผู้ลงทุน อีกทั้งมีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ มีคุณธรรม และปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานวิชาชีพ

ความรู้เกี่ยวกับ พรบ.หลักทรัพย์ ฉบับที่5

การทำหน้าที่ของ IC ในส่วนของการกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ หรือเรียกว่า Market Misconduct

ตัวอย่างการทำหน้าที่ของผู้แนะนำการลงทุนที่อาจเข้าข่ายความผิด Market Misconduct

ศึกษา พ.ร.บ. หลักทรัพย์ฯและความผิดเกี่ยวกับหน้าที่ (Conduct) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการกระทำผิดต่อหน้าที่ และไม่เข้าไปร่วมหรือสนับสนุนการกระทำผิด

ประเภทของมาตรการลงโทษทางแพ่งและโทษทางปกครองของผู้แนะนำการลงทุน

ผลจากการกระทำผิดในเรื่อง Market Misconduct หรือความผิดเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของ IC  



DO​ / D​ON'T

เปิดบัญชีแบบนี้ควรหรือไม่ควร

ข้อปฏิบัติที่ IC พึงกระทำและไม่พึงกระทำ เกี่ยวกับการเปิดบัญชี

การรับคำสั่งซื้อแบบนี้... ไม่ หรือ ใช่?

ข้อปฏิบัติที่ IC ควรทำและไม่ควรทำ ในการรับคำสั่งซื้อขาย

การให้คำแนะนำแบบนี้ควรหรือไม่ควร

พฤติกรรมที่ IC ควรทำและไม่ควรทำ ในการให้คำแนะนำการลงทุนที่ดี

พฤติกรรมที่ควรทำและไม่ควรทำอื่นๆ

ข้อปฏิบัติที่เหมาะสมของ IC เกี่ยวกับกระบวนการหลังการซื้อขาย


Fund​ F​actsheet​
 

รู้จัก Fund Factsheet 

fund factsheet : เครื่องมือสำคัญที่ช่วย IC ให้ข้อมูลแก่ผู้ลงทุน

รู้จัก Fund Factsheet - คุณกำลังจะลงทุนอะไร

fund factsheet : นโยบายการลงทุนในทรัพย์สินซึ่งเป็นที่มาของผลตอบแทนและความเสี่ยง

รู้จัก Fund Factsheet - กองทุนรวมนี้เหมาะกับใคร

fund factsheet : ข้อจำกัดและลักษณะเฉพาะของกองทุน

รู้จัก Fund Factsheet - คุณต้องระวังอะไรเป็นพิเศษ

fund factsheet : ปัจจัยความเสี่ยงและคำเตือนที่สำคัญแก่ผู้ลงทุน 

รู้จัก Fund Factsheet - ความเสี่ยงของกองทุนรวมที่ต้องรู้

fund factsheet : ความเสี่ยงเฉพาะของแต่ละประเภทของกองทุน

รู้จัก Fund Factsheet - สัดส่วนของประเภททรัพย์สินที่ลงทุน

fund factsheet : สัดส่วนการลงทุนในทรัพย์สินต่าง ๆ 

รู้จัก Fund Factsheet - ค่าธรรมเนียม

fund factsheet : ค่าธรรมเนียมของกองทุน

รู้จัก Fund Factsheet - ผลการดำเนินงาน

fund factsheet : ข้อมูลผลตอบแทนย้อนหลัง ความผันผวนของผลตอบแทน และผลขาดทุนสูงสุดที่เกิดขึ้นจริง 5 ปี 


Suitai​bi​lity Test​
 

Suitability Test - รู้จักความเปราะปางของผู้ลงทุนจากอายุและประสบการณ์การลงทุน

การใช้แบบประเมินความเหมาะสมในการลงทุนหรือ Suitability test ในการทำความรู้จักผู้ลงทุนโดยวิเคราะห์ผู้ลงทุนในหลากหลายมิติ
เรื่องที่ 1 : รู้จักความเปราะบางของผู้ลงทุนจากอายุ ความรู้และประสบการณ์การลงทุน

Suitability Test - ความสามารถในการรับความเสี่ยง - ภาระและสถานภาพทางการเงิน

การใช้ suitability test เพื่อให้รู้ความสามารถในการรับความเสี่ยงจากภาระทางการเงินและสถานภาพทางการเงิน

Suitability Test - ความสามารถในการรับความเสี่ยง - ระยะเวลาลงทุน

การใช้ suitability test เพื่อให้รู้ความสามารถในการรับความเสี่ยงจากระยะเวลาการลงทุน 

Suitability Test - รู้วัตถุประสงค์การลงทุน

การใช้ suitability test เพื่อให้รู้วัตถุประสงค์การลงทุนของผู้ลงทุนจากผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนคาดหวังและความเสี่ยงที่ยอมรับได้

Suitability Test - รู้อารมณ์ความรู้สึกเมื่อประสบภาวะขาดทุน

การใช้ suitability test เพื่อให้รู้ความรู้สึกของผู้ลงทุนเมื่อต้องประสบกับภาวะขาดทุนเพื่อนำมาประเมินร่วมกับความสามารถในการรับความเสี่ยง

Suitability Test - การรับความเสี่ยงจากอนุพันธ์และอัตราแลกเปลี่ยน

การใช้ suitability test ดูผลเรื่องการรับความเสี่ยงจากอนุพันธ์และอัตราแลกเปลี่ยนของผู้ลงทุน เพื่อใช้ประกอบการให้คำแนะนำการลงทุน

Suitability Test - การใช้ผล Suitability Test

การนำผล suitability test คู่กับเป้าหมายการลงทุนและข้อจำกัดในการลงทุน ในการเริ่มให้คำแนะนำ






ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

​ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน

โทรศัพท์ 0 2033 9579